การวิเคราะห์เครือข่ายนโยบายในการพัฒนาพื้นที่สาธารณะสีเขียวในเขตกรุงเทพมหานคร
DOI:
https://doi.org/10.61462/cujss.v53i1.1006คำสำคัญ:
เครือข่ายนโยบาย, พื้นที่สาธารณะสีเขียว, กรุงเทพมหานคร, ศาลาว่าการกรุงเทพมหานครบทคัดย่อ
การศึกษาครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างตัวแสดงในเครือข่ายนโยบายในการขับเคลื่อนการพัฒนาพื้นที่สาธารณะสีเขียวในเขตกรุงเทพมหานคร โดยใช้แนวทางการวิจัยเชิงคุณภาพ เก็บรวบรวมข้อมูลจากการค้นคว้าเชิงเอกสารและการสัมภาษณ์แบบเจาะลึกกับผู้ให้ข้อมูลสำคัญ ผลการวิจัยพบว่า การขับเคลื่อนงานเป็นในลักษณะตามแนวคิดการบริการสาธารณะแนวใหม่ โดยมีกรุงเทพมหานครเป็นตัวแสดงหลัก เนื่องด้วยเป็นหน่วยงานที่มีอำนาจหน้าที่แก้ไขปัญหาและพัฒนาในเขตพื้นที่ ซึ่งมีความสัมพันธ์ในลักษณะของการประสานความร่วมมือจากการบูรณาการการทำงานกับหน่วยงานในสังกัด หน่วยงานซึ่งเป็นเจ้าของพื้นที่ และหน่วยงานที่มาสนับสนุนการดำเนินงานทั้งในทางตรงและในทางอ้อม ที่เป็นหน่วยงานภาครัฐและนอกภาครัฐ ทั้งภาคเอกชน ภาคีวิชาการ ภาคีวิชาชีพ ภาคประชาสังคม และสมาคม/ชุมชนที่อยู่ในย่าน เพื่อเสริมเติมองค์ประกอบของเครือข่ายในส่วนที่เป็นช่องว่างการดำเนินงาน นอกจากนี้ ยังมีความสัมพันธ์ที่เกิดขึ้นโดยอิสระจากกรุงเทพมหานคร ที่มาจากการพัฒนาพื้นที่สาธารณะสีเขียวโดยเจ้าของพื้นที่ซึ่งเป็นเอกชนหรือปัจเจก โดยเครือข่ายการประสานความร่วมมือที่เกิดขึ้น ประกอบด้วยตัวแสดงต่างๆ ที่แตกต่างกันไปในแต่ละพื้นที่ที่พัฒนา
Downloads
References
Chompoonunch Hunnak. 2017. “Honthang Su Kan Sang Kan Borikan Satharana Mai Phuea Rapchai Phonlamueang New Public Services for Serving Citizens”. Journal of Humanities & Social Sciences Review. 19(1), 125-40. (in Thai)
Isares Sunsaneevithayakul. 2013. The Analysis of Social Enterprise Policy by using Policy Network Approach. Modern Management Journal, 11(2), 39-57 (in Thai)
National Health Commission Office. 2019. Mati Samatcha Sukkhaphap Haeng Chat Khrang Thi 11 “Ru Thaothan Sukkhaphap Ruam Sang Sangkhom Suk Phawa”. Accessed October 24, 2022. https://infocenter.nationalhealth.or.th/Ebook/MatiSamatcha11/book.html#p=4. (in Thai)
Niramon Serisakul. 2019. “Nai Wikrit Mi Okat: Sang Krungthep Paiyannoi Mueang SiKhiao Chak Khrongsang Thing Rang Chaiklang Muea Ngo”. The Urbanis. Accessed October 24, 2565. https://theurbanis.com/environment/14/11/2019/237. (in Thai)
Pawinee Iamtrakul. 2018. Infrastructure Planning for Sustainable Urban Development. Bangkok: Thammasat University. (in Thai)
Pawinee Iamtrakul. 2020. Sustainable urban Planning and development. Bangkok: Thammasat University. (in Thai)
Phakhaphon Kunchiranthon. 2016. New Public Service: NPS. Accessed October 24, 2022. https://www.bloggang.com/m/mainblog.php?id=shirley129&month=11-09-2016&group=1&gblog=23/. (in Thai)
Strategy and Evaluation Department, Management Strategy. 2020. “Rai ngan Phon Kan Damnoenngan Tam Phaen Patibat Ratchakan Krungthepmahanakhon Pracham Pi 2020”. Accessed October 24, 2022. https://webportal.bangkok.go.th/public/user_files_editor/130/Report%20Plan/5.Report_63_2.pdf. (in Thai)
Strategy and Evaluation Department. 2014. Phaen Phatthana Krungthepmahanakhon Raya 20 Pi (Phoso 2556-2575). Accessed October 24, 2022. https://webportal.bangkok.go.th/public/user_files_editor/130/BMA-developmentplan/P20ys(2556-2575).pdf (in Thai)
ThaiHealth Promotion Foundation. 2018. “Masterplan Thai Health Official. 2018-2020”. Thaihealth, Accessed October 24, 2022. https://www.thaihealth.or.th/แผนหลัก-สสส-2561-2563/. (in Thai)
Thotsaphala Lueangsupphaphon. 2022. “Suan Pa Bencha Ki Ti Bueanglang Kan Ruam Phalang Phuea Sang Phuenthi SiKhiao Haeng Mai Hai Khon Muea Ngo”. Adaymagazine, Accessed October 24, 2022. https://adaymagazine.com/สวนป่าเบญจกิติ-เบื้องหล/. (in Thai)
Usanee Mongkolpitaksuk. 2012. “Naenam Nangsue Kan Borihan Pokkhrong Satharana: Kan Bori Bup Pha Wong Thi 21 Public Governance”. Romphruek Journal, 30(3),175-88. (in Thai)
Wasan Luangprapat, 2013. Khrong Kansueksa Khosanoe Kan Thai on Phan Kitchakan Chat BorikanSatharana Hai Kae Phak Pracha Sangkhom Chum Chon Chut. Thammasat University Research and Consultancy Institute. Bangkok: Thammasat University. (in Thai)
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2023 ณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.