การลงโทษโดยสังคม

ผู้แต่ง

  • สังศิต พิริยะรังสรรค์ วิทยาลัยนวัตกรรมสังคม มหาวิทยาลัยรังสิต

DOI:

https://doi.org/10.61462/cujss.v46i2.1206

คำสำคัญ:

การลงโทษโดยสังคม, ขบวนการเคลื่อนไหวทางสังคมแนวใหม่, พื้นที่สาธารณะ, วาทกรรม,ปฏิบัติการเชิงวาทกรรม

บทคัดย่อ

วัตถุประสงค์หลักของการวิจัยนี้ ต้องการที่จะศึกษาถึงลักษณะของการดำรงอยู่และการทำงานตามกลไกของการลงโทษโดยสังคม (Social sanctions) และความเป็นไปได้ที่จะนำเอากลไกดังกล่าวมาใช้เป็นมาตรการร่วมกับการบังคับใช้ตามกฎหมายการวิจัยนี้ได้สำรวจข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับการลงโทษโดยสังคมและการต่อต้านคอร์รัปชันทั้งในประเทศไทยและการเคลื่อนไหวมวลชนขนาดใหญ่ในต่างประเทศ เช่น ฟิลิปปินส์ อินโดนีเซีย อียิปต์ และไต้หวัน จากการศึกษาพบว่าการลงโทษโดยสังคมเป็นการทำงานร่วมกันระหว่างปทัสถานในระดับชุมชนหรือระดับจุลภาคกับปทัสถานในระดับสังคมหรือระดับมหภาคและตัวกลาง (Agent) ซึ่งจะทำหน้าที่กำกับดูแลการบังคับโดยผ่านการลงโทษโดยสังคม (Social sanctions) ต่อบรรดาสมาชิกของสังคมทั้งที่เป็นมาตรการเชิงบวก (Positive social sanctions) ด้วยการให้รางวัล หรือการแสดงความชื่นชมต่อผู้เป็นตัวอย่างที่ดีของสังคม และที่เป็นการลงโทษ (Negative social sanctions) ต่อผู้ฝ่าฝืนปทัสถาน

Downloads

Download data is not yet available.

References

Heckathorn, Douglas D.1990. Collective sanctions and compliance norms: A formal theory of group mediated social control. American Sociological Review 55 (June): 366-384.

Khan, H.Mustag. 1989. Clientelism, corruption and capitalist development. Ph.d.diss.Cambridge University.

Netter, Brian. 2005. Avoiding the shameful backlash: social repercussions for the increased use of alternative sanctions. Journal of Criminal Law and Criminology 96(1): 188-189.

Radcliffe-Brown, A.R. 1952. Structure and function in primitive society. Wilmington, IL: The Free Press.

Scott, James C. 1985. Weapons of the weak everyday forms of peasant resistance. New Haven, CT: Yale University Press.

Thompson, E.P. 1966.The making of the English working class. New York: Vintage Books.

Verboon, Peter, and Marius van Dijke. 2010. When do severe sanctions enhance compliance? The role of procedural fairness. Journal of Economic Psychology 32(1): 120-130.

Whitmeyer, Jospeph M. 2002. Elites and popular nationalism. Journal of Sociology 53 (September): 630-632.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

06-12-2022

How to Cite

พิริยะรังสรรค์ สังศิต. 2022. “การลงโทษโดยสังคม”. วารสารสังคมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 46 (2). Bangkok, Thailand:63-84. https://doi.org/10.61462/cujss.v46i2.1206.