อาชญาวิทยาสิ่งแวดล้อมกับการลักลอบค้าสัตว์ป่าที่เกิดขึ้นในไทย
DOI:
https://doi.org/10.61462/cujss.v50i1.712คำสำคัญ:
อาชญาวิทยาสิ่งแวดล้อม, สัตว์ป่า, การลักลอบค้า, อาชญากรรม, ไทยบทคัดย่อ
อาชญาวิทยาสิ่งแวดล้อม (Green Criminology) เป็นแนวคิดที่พัฒนาโดย Michael Lynch ในช่วงปี ค.ศ. 1990 นับเป็นช่วงที่ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของโลกกำลังถูกคุกคามอย่างหนัก โดยแนวคิดอาชญาวิทยาสิ่งแวดล้อมมุ่งแสวงหาความเสียหายที่เกิดจากการกระทำผิดของมนุษย์ต่อสิ่งแวดล้อม เพื่อนำไปสู่การแสวงหาแนวทางเยียวยาแก้ไขความเสียหายที่เกิดขึ้นต่อมนุษย์ สัตว์ สิ่งแวดล้อมและระบบนิเวศต่อไป การลักลอบค้าสัตว์ป่าที่เกิดขึ้นในไทยกลายเป็นปัญหาอาชญากรรมที่สร้างความเสียหายต่อประเทศมาอย่างยาวนาน ดังนั้นบทความนี้จึงมุ่งศึกษาว่าแนวคิดอาชญาวิทยาสิ่งแวดล้อมสามารถนำมาใช้อธิบายสถานการณ์การลักลอบค้าสัตว์ป่าที่เกิดขึ้นในไทยได้หรือไม่ อย่างไร ซึ่งใช้การศึกษาข้อมูลจากเอกสารและการสัมภาษณ์เชิงลึก โดยพบว่าแนวคิดอาชญาวิทยาสิ่งแวดล้อมสามารถนำมาใช้อธิบายสถานการณ์การลักลอบค้าสัตว์ป่าที่เกิดขึ้นในไทยได้ กล่าวคือ ผลกระทบที่เกิดขึ้นจากการลักลอบค้าสัตว์ป่าในไทยได้สร้างความเสียหาย 3 ด้าน คือ ด้านมนุษย์และสังคม ด้านสัตว์ป่า และด้านสิ่งแวดล้อมและระบบนิเวศ เป็น 3 ตัวแปรหลักตามหลักการวิเคราะห์ความเสียหายที่เกิดขึ้นตามแนวคิดอาชญาวิทยาสิ่งแวดล้อม
Downloads
References
BBC. 2016. “Thailand Tiger Temple Operation 'Is Completed.” Accessed September 19, 2016. http://www.bbc.com/news/world-asia-36451512.
Brack, Duncan, and Gavin Hayman. 2002. International Environmental Crime: The Nature and Control of Environmental Black Markets. London: Royal Institute of International Affairs.
Chatchapon Songsunthornwong. 2010. Manut Kap Singwaetlom. [Man and Nature]. 5th ed. Bangkok: Chulalongkorn University Press. (in Thai)
Cota-Larson, R. 2017. Khumue Kan Rabu Chanit Lin (Nim): Khrueangmue Kan Pramoen Yang Reo Samrap Ngan Phaksanam Lae Phakthruesadi: Khrueangmue Samrap Ngan Phak Sanam Lae Phakthruesadi Khomun Thi Chattriam Samrap Ongkan Phuea Kan Phatthana Rawang Prathet Khong Saharat-Amerika. [Guidebook of Pangolin (Nim) Identification: Quick Assessment Tools for Field Work and Theory, Tools for Fieldwork and Theory, and Data Provided for the United States International Development Organization]. Bangkok: USAID Wildlife Asia Activity. (in Thai)
Lynch, Michael J., and Paul B. Stretesky. 2014. Exploring Green Criminology: Toward a Green Criminological Revolution. Farnham: Ashgate Publishing.
Milliken, Tom, and Jo Shaw. 2012. The South Africa – Vietnam Rhino Horn Trade Nexus: a Deadly Combination of Institutional Lapses, Corrupt Wildlife Industry Professionals and Asian Crime Syndicates. Johannesburg: TRAFFIC.
Nanrapat Chaiakaraphong. 2019. “Environmental Crime: A Case Study of Wildlife Trafficking in Thailand.” PhD. diss., Criminology, Justice Administration and Society, Mahidol University.
Natnicha Donpanya. 2013. “Panha Gan Ka Satpa Nai Patjuban.” [Wildlife Trade at Present]. Accessed July 20, 2016. http://sd-group1.blogspot.com/2013/01/ 53241882.html. (in Thai)
Nijman, Vincent, and Chris Shepred. 2015. “Ongoing Trade in Illegally-Sourced Tortoises and Freshwater Turtles Highlight the Need for Legal Reform in Thailand.” The Siam Society 61(1): 3-6.
Pires, Stephen. F. 2015. “Introduction: Wildlife Crime.” European Journal on Criminal Policy and Research 21(3): 299–302.
Ronasit Maneesai. 2014. “Sarup Yo Khrueakhai Kan Pongkan Lae Prappram Kan Kha Satpa Lae Phuetphan Thi Phit Kotmai Nai Phumiphak ASEAN ASEAN Wildlife Enforcement Network (ASEAN-WEN) Lae Khrueakhai Kan Pongkan Lae Prappram Kan Kha Satpa Lae Phuetphanpa Haeng Prathet Thai (Thailand Wildlife Enforcement Network (Thailand-WEN)).” [Summary of ASEAN Wildlife Enforcement Network (ASEAN-WEN) and Thailand Wildlife Enforcement Network (Thailand-WEN)]. Accessed August 20, 2016. http://www.dnp.go.th/thailand-wen/about_tw/pdf1/scan0021.pdf. (in Thai).
Royal Thai Police. 2019. Sathiti Khadi Tam Thang Khwamphit Tam Phraratchabanyat Sa-nguan Lae Khumkhrong Sat Pa Pho So 2535 Rawang Pi Pho So 2558-2561. [Statistics of Cases according to Offences under the Wild Animal Preservation and Protection Act B.E. 2535 (1992) between 2015-2018]. Bangkok: Royal Thai Police. (in Thai)
Shepherd, Chris. R, Jeet Sukumaran, and Serge A. Wich. 2004. Open Season: An Analysis of the Pet Trade in Medan, Sumatra 1997 – 2001. Selangor: TRAFFIC Southeast Asia.
Suntariya Muanpawong. 2007. Khrongkan Phlakdan Nayobai Satharana Phuea Phatthana Kotmai Thi Kiaokap Krabuankan Yutitham Dan Singwaetlom. [Public Policy Advocacy Project: Environmental Law and Legal Procedures]. Bangkok: Rabi Bhadanasak Research and Development Institute. (in Thai)
Sutthisak Pattaramanawong. 2008. “Kan Mi Suanruam Khong Prachachon Kap Kan Raksa Khunnaphap Singwaetlom.” [Public Participation and Environmental Quality Protection]. Romphruek Journal 26(3): 124 – 143. (in Thai)
Tanya Chan-at. 2005. Khumue Chamnaek Satpa Phuea Ngan Pongkan Lae Prappram Kan Laklop Kha Satpa. [Wildlife Classification Guide for the Prevention and Suppression of Wildlife Trafficking]. Bangkok: Wildlife Conservation Society. (in Thai)
Thai Customs. 2018. Sathiti Kan Chapkum Kan Laklop Lae Likliang Sunlakakon Sueng Sinkha Thi Lamoet Anusanya Wa Duai Kan Kha Rawang Prathet Sueng Chanit Sat Pa Lae Phuet Pa Rawang Pi Ngoppraman Songpan Haroi Hasip Jet Thung Songpan Haroi Hoksip. [Statistics on Arrest, Smuggling, and Customs Evasion Regarding Products that Violate the Convention on International Trade in Species of Wild Animals and Wild Plants During the Fiscal Year 2014-2017]. Bangkok: Thai Customs. (in Thai)
Thailand. Department of National Park. Wildlife and Plant Conservation. 2019. Sathiti Khadi Kiaokap Satpa Tam Phraratchabanyat Sa-nguan Lae Khumkhrong Satpa Pho So Songpan Haroi Samsip Ha Rawang Pi Ngoppraman 2552-2562. [Statistics on Statutorily Protected Wildlife and Their Remains as Exhibited during the Fiscal Years 2009-2019]. Bangkok: Department of National Park, Wildlife and Plant Conservation. (in Thai)
Thailand. Forest Protection and Fire Control Office. n.d. “Pharakit Nathi.” [Mission]. Samnak Pongkan Prappram Lae Khuapkhum Fai Pa. [Forest Protection and Fire Control Office]. Accessed October 31, 2016. http://portal.dnp.go.th/Content/ProtectandFirecontrol?contentId=17927. (in Thai)
Thailand. Office of the National Environment Board. 1990. Cheewit Tee Gert Yoo Nai Pa [Life Born in the Forest]. Bangkok: Ministry of Science and Technology. (in Thai)
United Nations Development Program (UNDP). 2017. “Combating Illegal Wildlife Trade, Focusing on Ivory, Rhino Horn, Tiger and Pangolin in Thailand.” Accessed October 20, 2016. https://info.undp.org/docs/pdc/Documents/THA/PIMS5619_Thailand%20IWT_Prodoc%20_%207Nov2017_FINAL_with%20MPSA%20input_LF.DOC.
White, Rob. 2008. Crimes against Nature Environmental Criminology and Ecological Justice. London: Willan Publishing.
-----. 2010. “A Green Criminology Perspective.” In The SAGE Handbook of Criminological Theory, edited by Eugene McLaughlin and Tim Newburn. London: SAGE Publication.
World Bank. East Asia and Pacific Regional Office. Environment and Social Development Unit. 2005. Going, Going, Gone: The Illegal Trade in Wildlife in East and Southeast Asia. Washington, D.C.: Environment and Social Development Department, East Asia and Pacific Region, The World Bank. Accessed November 15, 2018. http://siteresources.worldbank.org/INTEAPREGTOPENVIRONMENT/Resources/going-going-gone.pdf.
World Wide Fund for Nature (WWF)/Dalberg. 2012. Fighting Illicit Wildlife Trafficking a Consultation with Government. [London]: InnerWorkings.
Wyatt, Tanya. 2013. “The Security Implications of the Illegal Wildlife Trade.” CRIMSOC: The Journal of Social Criminology Special Issue(Autumn/Winter): 130–158.
Wyler, Liana. Sun, and Pervaze A. Sheikh. 2008. CSR Report for Congress International Illegal Trade in Wildlife: Threats and U.S. Policy. Washington, D.C.: Congressional Research Service.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2020 คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
เงื่อนไขการอนุญาตสาธารณะ
นโยบายลิขสิทธิ์และการอนุญาต
วารสารสังคมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เผยแพร่เนื้อหาทั้งหมดภายใต้ สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์แบบแสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 4.0 นานาชาติ (CC BY-NC-ND 4.0)
ลิขสิทธิ์
บทความทั้งหมดที่ตีพิมพ์ในวารสารสังคมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นลิขสิทธิ์ของ คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ผู้เขียนจะโอนสิทธิ์ทั้งหมดให้แก่วารสารเมื่อบทความได้รับการตอบรับให้ตีพิมพ์
สัญญาอนุญาต CC BY-NC-ND 4.0
ภายใต้สัญญาอนุญาตนี้:
-
แสดงที่มา (BY): ผู้ใช้ต้องแสดงที่มาโดยอ้างอิงถึงผู้เขียน คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และวารสารสังคมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พร้อมทั้งให้ลิงก์ไปยังสัญญาอนุญาต และระบุหากมีการเปลี่ยนแปลง ทั้งนี้สามารถทำได้ในลักษณะที่สมเหตุสมผล แต่ต้องไม่ทำในลักษณะที่แสดงว่าผู้อนุญาตให้การรับรองผู้ใช้หรือการใช้งานดังกล่าว
-
ไม่ใช้เพื่อการค้า (NC): ผู้ใช้ไม่สามารถใช้เนื้อหาเพื่อวัตถุประสงค์ทางการค้า การใช้งานเชิงพาณิชย์จะต้องได้รับอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษรล่วงหน้าจากผู้เขียนและคณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
-
ไม่ดัดแปลง (ND): หากผู้ใช้นำเนื้อหาไปรวม ดัดแปลง หรือต่อยอด ผู้ใช้ไม่สามารถเผยแพร่งานที่ดัดแปลงนั้นได้ การดัดแปลงผลงานจะต้องได้รับอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษรล่วงหน้าจากผู้เขียนและคณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
นโยบายการเข้าถึงแบบเปิด
วารสารสังคมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ให้การเข้าถึงเนื้อหาแบบเปิดโดยทันทีตามหลักการที่ว่าการทำให้งานวิจัยสามารถเข้าถึงได้อย่างเสรีแก่สาธารณะจะสนับสนุนการแลกเปลี่ยนความรู้ในระดับโลก ผู้ใช้สามารถอ่าน ดาวน์โหลด คัดลอก เผยแพร่ พิมพ์ ค้นหา หรือเชื่อมโยงไปยังเนื้อหาฉบับเต็มของบทความได้โดยไม่ต้องขออนุญาตล่วงหน้าจากผู้จัดพิมพ์หรือผู้เขียน ทั้งนี้เป็นไปตามสัญญาอนุญาต CC BY-NC-ND 4.0
นโยบายการเก็บบันทึกด้วยตนเอง
ผู้เขียนสามารถเก็บบันทึกบทความฉบับตีพิมพ์สุดท้าย ต้นฉบับที่ส่ง (preprint) หรือฉบับที่ผ่านการประเมิน (postprint) ในคลังสถาบันหรือเว็บไซต์ส่วนตัวได้ โดยต้องมีการอ้างอิงการตีพิมพ์ครั้งแรกในวารสารสังคมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พร้อมระบุแหล่งอ้างอิงที่สมบูรณ์และลิงก์ไปยังเว็บไซต์ของวารสาร
การขออนุญาต
สำหรับการใช้งานนอกเหนือจากที่ครอบคลุมโดยสัญญาอนุญาต CC BY-NC-ND 4.0 กรุณาติดต่อ:
กองบรรณาธิการ
วารสารสังคมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Email: cusocscij@gmail.com
สำหรับข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับสัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์แบบแสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 4.0 นานาชาติ กรุณาเยี่ยมชม: https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/deed.th