เรื่องเล่าคนเคยอ้วน: การศึกษาเรือนร่างในสังคมนิยมความผอม
DOI:
https://doi.org/10.61462/cujss.v49i1.743คำสำคัญ:
เรือนร่าง, ความอ้วน, การเปลี่ยนเรือนร่างบทคัดย่อ
บทความนี้มีวัตถุประสงค์สำคัญเพื่อศึกษาและพิจารณาเรือนร่างในสังคมปัจจุบันผ่านประสบการณ์ของ “แมน” ชายหนุ่มที่สามารถเปลี่ยนเรือนร่าง ลดน้ำหนักอย่างสุดขั้วจากร่างอ้วน 140 กิโลกรัมที่สังคมมองว่าเป็นร่างที่ไม่เหมาะสม สู่เรือนร่างขนาด 75 กิโลกรัมที่สังคมมองว่าเหมาะสมกว่าโดยใช้ระยะเวลาเพียงไม่ถึงหนึ่งปี ผ่านการเล่าเรื่องราวในชีวิตซึ่งเป็นวิธีศึกษาหนึ่งในงานวิจัยเชิงคุณภาพทางสังคมวิทยา โดยอาศัยแนวคิดของ มิแช็ล ฟูโกต์ แอนโธนี กิดเดนส์ และ จูดิธ บัตเลอร์ มาใช้เป็นแนวทางในการอธิบายและทำความเข้าใจปรากฏการณ์ความสัมพันธ์ระหว่างความเป็นผู้กระทำทางสังคมและโครงสร้างทางสังคม ยิ่งไปกว่านั้นผลการศึกษายังชี้ให้เห็นว่าเรือนร่างมิได้เป็นเพียงวัตถุที่มีอยู่ตามธรรมชาติหรือเป็นเพียงสิ่งที่ถูกประกอบสร้างจากสังคมเพียงแค่อย่างใดอย่างหนึ่งเท่านั้น หากแต่เรือนร่างเป็นผลที่เกิดจากปฏิสัมพันธ์ระหว่างทั้งธรรมชาติและสังคมอย่างเป็นกระบวนการ
Downloads
References
Butler, Judith. 1993. Bodies That Matter: On the Discursive Limits of “Sex”. London: Routledge.
-----. 1990. Gender Trouble: Feminism and the Subversion of Identity. London: Routledge.
Bertaux, D., and M. Kohli. 1984. “The Life Story Approach.” Annual Review of Sociology 10: 215-235.
Etherington, K. 2006. “Understanding Drug Misuse and Changing Identities: A Life Story Approach.” Drugs, Education, Prevention and Policy 13(3): 233-245.
Foucault, Michel. 1972. The Archaeology of Knowledge and the Discourse on Language. New York: Pantheon Books.
-----. 1973. The Birth of the Clinic: An Archaeology of Medical Perception. London: Routledge.
-----. 1976. The History of Sexuality, Vol.1: An Introduction. New York: Vintage Books.
Giddens, Anthony. 1979. Central Problems in Social Theory. London: Macmillan.
-----. 1984. The Constitution of Society. Cambridge: Polity Press.
-----. 1991. Modernity and Self-Identity. Self and Society in the Late Modern Age. Cambridge: Polity Press.
Jordanova, Ludmilla. 1989. Sexual Visions: Images of Gender in Science and Medicine between the Eighteenth and Twentieth Centuries. New York: Harvester Wheatsheaf.
Man, interview by Ratchapon Yamkeep, April 21, 2017.
Mercer, Kobena, and Isaac Julien. 1988. “Race, Sexual Politics and Black Masculinity: A Dossier.” In Male Order: Unwrapping Masculinity, edited by Rowena Chapman and Jonathan Rutherford, 97-167. London: Lawrence and Wishart.
Shilling, Chris. 2012. The Body and Social Theory. 3rd ed. London: SAGE.
Staples, Robert. 1982. Black Masculinity: The Black Male's Role in American Society. San Francisco, CA: Black Scholar Press.
Teerayut Bunmee. 2008. “Michel Foucault.” [Michel Foucault]. Bangkok: Vibhasa. (in Thai)
Van Vree, Wilbert. 2011. “Meetings: The Frontline of Civilization.” The Sociological Review 59(1): 241-262.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2019 คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
เงื่อนไขการอนุญาตสาธารณะ
นโยบายลิขสิทธิ์และการอนุญาต
วารสารสังคมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เผยแพร่เนื้อหาทั้งหมดภายใต้ สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์แบบแสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 4.0 นานาชาติ (CC BY-NC-ND 4.0)
ลิขสิทธิ์
บทความทั้งหมดที่ตีพิมพ์ในวารสารสังคมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นลิขสิทธิ์ของ คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ผู้เขียนจะโอนสิทธิ์ทั้งหมดให้แก่วารสารเมื่อบทความได้รับการตอบรับให้ตีพิมพ์
สัญญาอนุญาต CC BY-NC-ND 4.0
ภายใต้สัญญาอนุญาตนี้:
-
แสดงที่มา (BY): ผู้ใช้ต้องแสดงที่มาโดยอ้างอิงถึงผู้เขียน คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และวารสารสังคมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พร้อมทั้งให้ลิงก์ไปยังสัญญาอนุญาต และระบุหากมีการเปลี่ยนแปลง ทั้งนี้สามารถทำได้ในลักษณะที่สมเหตุสมผล แต่ต้องไม่ทำในลักษณะที่แสดงว่าผู้อนุญาตให้การรับรองผู้ใช้หรือการใช้งานดังกล่าว
-
ไม่ใช้เพื่อการค้า (NC): ผู้ใช้ไม่สามารถใช้เนื้อหาเพื่อวัตถุประสงค์ทางการค้า การใช้งานเชิงพาณิชย์จะต้องได้รับอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษรล่วงหน้าจากผู้เขียนและคณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
-
ไม่ดัดแปลง (ND): หากผู้ใช้นำเนื้อหาไปรวม ดัดแปลง หรือต่อยอด ผู้ใช้ไม่สามารถเผยแพร่งานที่ดัดแปลงนั้นได้ การดัดแปลงผลงานจะต้องได้รับอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษรล่วงหน้าจากผู้เขียนและคณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
นโยบายการเข้าถึงแบบเปิด
วารสารสังคมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ให้การเข้าถึงเนื้อหาแบบเปิดโดยทันทีตามหลักการที่ว่าการทำให้งานวิจัยสามารถเข้าถึงได้อย่างเสรีแก่สาธารณะจะสนับสนุนการแลกเปลี่ยนความรู้ในระดับโลก ผู้ใช้สามารถอ่าน ดาวน์โหลด คัดลอก เผยแพร่ พิมพ์ ค้นหา หรือเชื่อมโยงไปยังเนื้อหาฉบับเต็มของบทความได้โดยไม่ต้องขออนุญาตล่วงหน้าจากผู้จัดพิมพ์หรือผู้เขียน ทั้งนี้เป็นไปตามสัญญาอนุญาต CC BY-NC-ND 4.0
นโยบายการเก็บบันทึกด้วยตนเอง
ผู้เขียนสามารถเก็บบันทึกบทความฉบับตีพิมพ์สุดท้าย ต้นฉบับที่ส่ง (preprint) หรือฉบับที่ผ่านการประเมิน (postprint) ในคลังสถาบันหรือเว็บไซต์ส่วนตัวได้ โดยต้องมีการอ้างอิงการตีพิมพ์ครั้งแรกในวารสารสังคมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พร้อมระบุแหล่งอ้างอิงที่สมบูรณ์และลิงก์ไปยังเว็บไซต์ของวารสาร
การขออนุญาต
สำหรับการใช้งานนอกเหนือจากที่ครอบคลุมโดยสัญญาอนุญาต CC BY-NC-ND 4.0 กรุณาติดต่อ:
กองบรรณาธิการ
วารสารสังคมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Email: cusocscij@gmail.com
สำหรับข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับสัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์แบบแสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 4.0 นานาชาติ กรุณาเยี่ยมชม: https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/deed.th