อัตลักษณ์ของตลาดนัดวันศุกร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
DOI:
https://doi.org/10.61462/cujss.v48i1.758คำสำคัญ:
อัตลักษณ์, ตลาดนัด, มหาวิทยาลัยของรัฐบทคัดย่อ
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อทำความเข้าใจความหมายและคุณค่าของตลาดนัดวันศุกร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และเพื่อสะท้อนอัตลักษณ์ของตลาดนัดภายในมหาวิทยาลัยของรัฐ ดำเนินการวิจัยตามระเบียบวิธีวิจัยเชิงคุณภาพแบบชาติพันธุ์วรรณนา โดยใช้เทคนิคการเก็บข้อมูลแบบสังเกตอย่างมีส่วนร่วม และการสัมภาษณ์กึ่งมีโครงสร้าง ผลวิจัยพบว่า คนในตลาดนัดวันศุกร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยมีการรับรู้และให้ความหมายในสามประเด็น หนึ่ง “ตลาดนัดคือพื้นที่แห่งชีวิต” สอง “ตลาดนัดคือสายใยแห่งความผูกพัน” และสาม “ตลาดนัด คือ การยอมรับและปรับตัวภายใต้ข้อจำกัด” ซึ่งเป็นหัวใจของสำคัญของการประกอบสร้างอัตลักษณ์ของตลาดนัดวันศุกร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยที่เกิดจากการปฏิสัมพันธ์กันของผู้คนในมหาวิทยาลัยและผู้คนในตลาดนัดเป็นเวลานาน เหล่านี้สะท้อนค่านิยมที่ผูกโยงกันเป็นอัตลักษณ์ของตลาดนัดภายในมหาวิทยาลัยของรัฐ
Downloads
References
Artita Suntarole. 2006. “Talat Mahidol: Kanpliangplaeng Choeng Phuenthi.” [Mahidol Flea Market: The Changing of Space]. In Talat Nai Cheewit Cheewit Nai Talat. [Market in Life, Life in Market], Somrak Chaisingkanon. Bangkok: Princess Maha Chakri Sirindhorn Anthropology Centre (Public Organization). (in Thai)
Aphinya Fueangfusakun. 2003. Attalak : Kan Thopthuan Thruesadi Lae Krop Naeokhit. [Identity: Reviewing Theory and Conceptual Framework]. Bangkok: National Research Council Sociology Department. (in Thai)
Berger, Peter, and Thomas Luckmann. 1966. The Social Construction of Reality: A Treatise in the Sociology of Knowledge. Garden City, NY: Anchor Books.
Chai Podhisita. 2011. Sard Lae Sin: Kanwijai Choeng Khunnaphap. [The Art and Science: The Qualitative Research]. 5th ed. Bangkok: Amarin Printing. (in Thai)
Chawitra Tantimala. 2010. “Talat Bae Kadin Korani Sueksa Boriwen Anusaowari Chaisamoraphum Krung Thep Maha Nakhon.” [Roadside Stand Market at Victory Monument, Bangkok]. Master’s thesis, Department of Sociology and Anthropology, Faculty of Political Science, Chulalongkon University. (in Thai)
Chulalongkorn University Faculty Club. 2016. “Talat Nat Wansuk.” [Weekly Friday Market]. Accessed August 8, 2015. http://www.cufc.chula.ac.th/cufc. (in Thai)
Jenkins, Richard. 2004. Social Identity. London; New York: Routledge.
Kait Chivakul, Jaturon Wantanapasak, Suwattana Thadaniti, Kwansuang Atibodhi, Chompoonut Nakeerak, and Netnapit Nakavachara. 1982. Talat Nai Krung Thep Kan Kayai-tua Lae Phatthanakan. [Market in Bangkok Expansion and Development]. Bangkok: Chulalongkon University. (in Thai)
Kettawa Boonprakarn. 2007. “Kan Sang Attalak Thang Sangkhom Khong Phuboriphok Sinkha Sueapha Kham Daen Nai Phuenthi Padang Besar Thai – Malaysia.” [The Construction of Social Identities of Cross-border Clothes Consumers at the Padang Besar, Thai-Malaysia]. The Journal of the Thai Khadi Research Institute 5(1): 69-102. (in Thai)
Lefebvre, Henri. 1991. The Production of Space. Malden, MA: Blackwell Publishers.
Manasvi Saipetch. 2009. “Kan Mi Okat Dai Lueak Sue Sinkha Nai Talat Nat Klai Sathanthi Thamngan Thi Mi Phon To Kan Khlai Khwamkhriat Nai Kan Thamngan Khong Bukhlakon.” [The Opportunity to Shop in a Market near the Workplace, Stress Affects the Work of the Personnel]. Master’s Thesis, Department of Industrial and Organizational Psychology, King Mongkut's University of Technology North Bangkok. (in Thai)
Melucci, Alberto. 1995. The Process of Collective Identity. Philadelphia, PA: Temple University Press.
Narupon Dungwised. 2008. “Arai Khue Talat.” [What is a Market?]. Translated from David Levinson, and Melvin Ember. Encyclopedia of Cultural Anthropology. Accessed August 8, 2015. http://www.sac.or.th/main/content_ detail.php?content_id=16.
Office of the Royal Society. 2011. “Talat.” [Market ]. Accessed on August 8, 2015. http://www.royin. go.th/dictionary.
-----. 2011. “Talat Nat.” [Flea Market]. Accessed August 8, 2015. http://www.royin.go.th/dictionary.
Oungard Naiyapat. 2006. Kan Okbaep Kanwichai Withikan Choeng Boriman, Choeng Khunaphap Lae Phasomphasan Withikan. [Research Design: Quantitative Research, Qualitative Research and Mixed Methods Approach]. Bangkok: Chulalongkon University. (in Thai)
Prasit Leepricha. 2004. “Kan Sang Lae Suepthot Attalak Khong Klum Chattiphan Hmong.” [Creating and the Inheriting the Identity of Ethnic Hmong Groups]. In Wathakam Attalak. [Identity Discourse]. Bangkok: Princess Maha Chakri Sirindhorn Anthropology Centre (Public Organization). (in Thai)
Rainub Shiarmat. 2012. “Talat Nam Khlong Hae: Phuenthi Pradit Phuea Kan Thongthiao Lae Kan Boriphok.” [Khlong Hae Floating Market: An Invented Space for Tourism and Consumption]. Master’s thesis, Human and Social Development, Prince of Songkla University. (in Thai)
Robinson, Kathryn. 2000. Economy as a Cultural System: The Economic Anthropology of Paul Alexander. Asia Pacific Journal of Anthropology 1(1): 3-13.
Sankaworn Sattayamongkol. 2008. “Kan Chatkan Talat Nat Mahawitthayalai Srinakharintharawirot Tam Thatsana Khong Phuchamnai Sinkha Lae Phuboriphok.” [The Management of the Thursday Market at Srinakharinwirot University from the Perspectives of Sellers and Consumers]. Master’s project, Business Education, Srinakharinwirot University.
Sanya Sanya-wiwat. 2007 . Thruesadi Sangkhomwitthaya Nueaha Lae Naeo Kan Chai Prayot Bueangton. [Sociological Theory Content and Usability Basics]. Bangkok: Chulalongkon University. (in Thai)
Somrak Chaisingkanon. 2006. Talat Nai Cheewit, Cheewit Nai Talat. [Market in life, Life in Market]. Bangkok: Princess Maha Chakri Sirindhorn Anthropology Centre (Public Organization). (in Thai)
Spencer, Herbert. 1862. First Principles. London: Williams and Norgate.
Tasana Hongma. 2012. Patchai Thi Songphon To Phruetikam Kantatsinchai Lueak Seu Sinkha Khong Phuseu Nai Talat Nat: Korani Sueksa Talat Nat Nai Krasuang Satharanasuk Changwat Nonthaburi. [Factors That Affect Buyers Behaviors in Weekly Market Shopping: Case Study in the Ministry of Public Health, Nonthaburi]. Research Grants from Ratchaphruek University, Bangkok: Ratchaphruek University. (in Thai)
Waraporn Chiwachaisak. 2004. “Talat.” [Market]. Thai Junior Encyclopedia. Accessed August 8, 2015. http://kanchanapisek. or. th /kp6/Ebook/BOOK28/pdf/book28_3.pdf. (in Thai)
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2018 คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
เงื่อนไขการอนุญาตสาธารณะ
นโยบายลิขสิทธิ์และการอนุญาต
วารสารสังคมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เผยแพร่เนื้อหาทั้งหมดภายใต้ สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์แบบแสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 4.0 นานาชาติ (CC BY-NC-ND 4.0)
ลิขสิทธิ์
บทความทั้งหมดที่ตีพิมพ์ในวารสารสังคมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นลิขสิทธิ์ของ คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ผู้เขียนจะโอนสิทธิ์ทั้งหมดให้แก่วารสารเมื่อบทความได้รับการตอบรับให้ตีพิมพ์
สัญญาอนุญาต CC BY-NC-ND 4.0
ภายใต้สัญญาอนุญาตนี้:
-
แสดงที่มา (BY): ผู้ใช้ต้องแสดงที่มาโดยอ้างอิงถึงผู้เขียน คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และวารสารสังคมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พร้อมทั้งให้ลิงก์ไปยังสัญญาอนุญาต และระบุหากมีการเปลี่ยนแปลง ทั้งนี้สามารถทำได้ในลักษณะที่สมเหตุสมผล แต่ต้องไม่ทำในลักษณะที่แสดงว่าผู้อนุญาตให้การรับรองผู้ใช้หรือการใช้งานดังกล่าว
-
ไม่ใช้เพื่อการค้า (NC): ผู้ใช้ไม่สามารถใช้เนื้อหาเพื่อวัตถุประสงค์ทางการค้า การใช้งานเชิงพาณิชย์จะต้องได้รับอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษรล่วงหน้าจากผู้เขียนและคณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
-
ไม่ดัดแปลง (ND): หากผู้ใช้นำเนื้อหาไปรวม ดัดแปลง หรือต่อยอด ผู้ใช้ไม่สามารถเผยแพร่งานที่ดัดแปลงนั้นได้ การดัดแปลงผลงานจะต้องได้รับอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษรล่วงหน้าจากผู้เขียนและคณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
นโยบายการเข้าถึงแบบเปิด
วารสารสังคมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ให้การเข้าถึงเนื้อหาแบบเปิดโดยทันทีตามหลักการที่ว่าการทำให้งานวิจัยสามารถเข้าถึงได้อย่างเสรีแก่สาธารณะจะสนับสนุนการแลกเปลี่ยนความรู้ในระดับโลก ผู้ใช้สามารถอ่าน ดาวน์โหลด คัดลอก เผยแพร่ พิมพ์ ค้นหา หรือเชื่อมโยงไปยังเนื้อหาฉบับเต็มของบทความได้โดยไม่ต้องขออนุญาตล่วงหน้าจากผู้จัดพิมพ์หรือผู้เขียน ทั้งนี้เป็นไปตามสัญญาอนุญาต CC BY-NC-ND 4.0
นโยบายการเก็บบันทึกด้วยตนเอง
ผู้เขียนสามารถเก็บบันทึกบทความฉบับตีพิมพ์สุดท้าย ต้นฉบับที่ส่ง (preprint) หรือฉบับที่ผ่านการประเมิน (postprint) ในคลังสถาบันหรือเว็บไซต์ส่วนตัวได้ โดยต้องมีการอ้างอิงการตีพิมพ์ครั้งแรกในวารสารสังคมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พร้อมระบุแหล่งอ้างอิงที่สมบูรณ์และลิงก์ไปยังเว็บไซต์ของวารสาร
การขออนุญาต
สำหรับการใช้งานนอกเหนือจากที่ครอบคลุมโดยสัญญาอนุญาต CC BY-NC-ND 4.0 กรุณาติดต่อ:
กองบรรณาธิการ
วารสารสังคมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Email: cusocscij@gmail.com
สำหรับข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับสัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์แบบแสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 4.0 นานาชาติ กรุณาเยี่ยมชม: https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/deed.th