‘สลาวอย ชิเชค VS เกรแฮม ฮาแมน’: วิวาทะปรัชญาร่วมสมัย
DOI:
https://doi.org/10.61462/cujss.v47i2.776คำสำคัญ:
ภาวะความเป็นจริง, อุตระภาวะ, รูปธรรมนิยม, หลังมนุษย์นิยม, อนุมานสัจนิยมบทคัดย่อ
บทความเรื่องนี้นำเสนอวิวาทะทางการเมืองและปรัชญาร่วมสมัยของนักปรัชญาสองท่าน คือ สลาวอย ชิเชค (Slavoj Žižek) และเกรแฮม ฮาแมน (Graham Harman) ข้อถกเถียงของนักปรัชญาทั้งสองท่าน อาจกล่าวได้ว่าเป็นข้อถกเถียงทางปรัชญาและการเมือง ซึ่งไม่ใช่เป็นข้อถกเถียงทางการเมืองในลักษณะความเห็นที่ไม่ลงรอยกันระหว่างฝ่ายขวาและฝ่ายซ้าย แต่เป็นข้อถกเถียงถึงการท้าทายและทลายการเป็นศูนย์กลางของความเป็นภาคแสดงของมนุษย์ ตลอดจนการปะทุขึ้นหรืออุบัติขึ้นของภาคแสดงที่ไม่ใช่มนุษย์ที่เข้ามาร่วมสร้างความเคลื่อนไหวใหม่ ๆ และร่วมสร้างปรากฏการณ์ต่าง ๆ บนโลก ดังนั้น บทความนี้นำเสนอว่าการอภิปรายของนักคิดทั้งสองจะเป็นทั้งการเปิดประเด็นทั้งเป็นการขัดเกลาแนวคิดทางสังคมศาสตร์และปรัชญาร่วมสมัยที่น่าสนใจ เช่น ภาวะความเป็นจริง อุตระภาวะ สัจธรรม สัจนิยมใหม่ (อนุมานสัจนิยม) และรูปธรรมนิยม ฯลฯ โดยคำตอบเกี่ยวกับประเด็นสำคัญทางสังคมศาสตร์ของชิเชคมีจิตวิเคราะห์ที่พัฒนาโดย ฌาคส์ ลาก็อง เป็นแกนกลางสำคัญ ในขณะที่แกนกลางสำคัญของฮาแมนคือแนวคิดว่าด้วย‘ภาคแสดง’ ของบรูโน่ ลาตู แนวคิดเรื่อง ‘การคาบเกี่ยวกับของสรรพสิ่ง’ ของอัลเฟรด นอร์ธ ไวท์เฮด ปิดท้ายด้วยแนวคิด ‘ภาวะวิทยาแบบแบนราบ’ ของ มานูเอล ดีแลนดาเป็นคำตอบสำคัญ
Downloads
References
Bennett, Jane. 2010. Vibrant matter: A political ecology of things. Durham: Duke University Press.
Callon, Michel, and Bruno Latour, eds. 1981. Unscrewing the big Leviathan: How actors macro-structure reality and how sociologists help them do so. In Advances in social theory and methodology: Towards an integration of micro- and macro-sociologies, eds. K. Knorr-Cetina, and A.V. Cicourel. Boston: Routledge&Kegan Paul.
Chomsky, Noam, and Michel Foucault, eds. 2006. The Chomsky-Foucault debate: On human nature. New York: The New Press.
Debate Noam Chomsky & Michel Foucault: On human nature. YouTube video, 1:10:02, posted by withDefiance, March 13, 2013. https://www.youtube.com/watch?v=3wfNl2L0Gf8 (Accessed on April 04, 2017)
DeLanda, Manuel. 2013. Intensive science and virtual philosophy. New York: Bloomsbury Academic.
Duel + Duet: Slavoj Žižek, and Graham Harman at SCI-Arc on March 1, 2017, YouTube video, 2:17:47, posted by The Žižek Times, March 2, 2017. https://www.youtube.com/watch?v =r1PJo_-n2vI Debate Slavoj Žižek VS Graham Harman (Accessed on April 04, 2017)
Harman, Graham. 2016. Immaterialism. Malden: Polity.
-----. 2010. Towards speculative realism: Essays and lectures. Hants: Zero Books.
-----. 2008. On the horror of phenomenology: Lovecraft and Husserl. Collapse 4.
-----. 2005. Guerrilla metaphysics: Phenomenology and the carpentry of things. Illinois: Carus Publishing Company.
-----. 2002. Tool-being: Heidegger and the metaphysics of objects. Illinois: Carus Publishing Company.
Lacan, Jacques. 2007. The seminar of Jacques Lacan: The other side of psychoanalysis.Trans. Russell Grigg. New York: W.W. Norton.
-----. 2004. Ecrits: A selection. Trans. Bruce Fink. London: Routledge.
-----. 2007. The four fundamental concepts of psycho-analysis. Trans. Alan Sheridan. London: Karnac Books.
Meilllassoux, Quentin. 2008. After finitude: An essay on the necessity of contingency. Trans. Ray Brassier. New York: Continuum.
Žižek, Slavoj. 2017. The courage of hopelessness: Chronicles of a year of acting dangerously. London: Allen Lane.
-----. 2016. Disparities. London and New York: Bloomsbury.
-----. 2014. Absolute recoil. New York: Verso.
-----. 2012. Less than nothing: Hegel and the shadow of dialectical materialism. New York: Verso.
-----. 2010. Living in the end times. New York: Verso.
-----. 2007. The indivisible remainder: On Schelling and related matters. New York: Verso.
-----. 2006. The metastases of enjoyment: On women and causality. New York: Verso.
-----. 2001. On belief. London: Routledge.
-----. 2000. The ticklish subject: The absent centre of political ontology. New York: Verso.
-----. 1989. The sublime object of ideology. New York: Verso.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2017 คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
เงื่อนไขการอนุญาตสาธารณะ
นโยบายลิขสิทธิ์และการอนุญาต
วารสารสังคมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เผยแพร่เนื้อหาทั้งหมดภายใต้ สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์แบบแสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 4.0 นานาชาติ (CC BY-NC-ND 4.0)
ลิขสิทธิ์
บทความทั้งหมดที่ตีพิมพ์ในวารสารสังคมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นลิขสิทธิ์ของ คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ผู้เขียนจะโอนสิทธิ์ทั้งหมดให้แก่วารสารเมื่อบทความได้รับการตอบรับให้ตีพิมพ์
สัญญาอนุญาต CC BY-NC-ND 4.0
ภายใต้สัญญาอนุญาตนี้:
-
แสดงที่มา (BY): ผู้ใช้ต้องแสดงที่มาโดยอ้างอิงถึงผู้เขียน คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และวารสารสังคมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พร้อมทั้งให้ลิงก์ไปยังสัญญาอนุญาต และระบุหากมีการเปลี่ยนแปลง ทั้งนี้สามารถทำได้ในลักษณะที่สมเหตุสมผล แต่ต้องไม่ทำในลักษณะที่แสดงว่าผู้อนุญาตให้การรับรองผู้ใช้หรือการใช้งานดังกล่าว
-
ไม่ใช้เพื่อการค้า (NC): ผู้ใช้ไม่สามารถใช้เนื้อหาเพื่อวัตถุประสงค์ทางการค้า การใช้งานเชิงพาณิชย์จะต้องได้รับอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษรล่วงหน้าจากผู้เขียนและคณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
-
ไม่ดัดแปลง (ND): หากผู้ใช้นำเนื้อหาไปรวม ดัดแปลง หรือต่อยอด ผู้ใช้ไม่สามารถเผยแพร่งานที่ดัดแปลงนั้นได้ การดัดแปลงผลงานจะต้องได้รับอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษรล่วงหน้าจากผู้เขียนและคณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
นโยบายการเข้าถึงแบบเปิด
วารสารสังคมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ให้การเข้าถึงเนื้อหาแบบเปิดโดยทันทีตามหลักการที่ว่าการทำให้งานวิจัยสามารถเข้าถึงได้อย่างเสรีแก่สาธารณะจะสนับสนุนการแลกเปลี่ยนความรู้ในระดับโลก ผู้ใช้สามารถอ่าน ดาวน์โหลด คัดลอก เผยแพร่ พิมพ์ ค้นหา หรือเชื่อมโยงไปยังเนื้อหาฉบับเต็มของบทความได้โดยไม่ต้องขออนุญาตล่วงหน้าจากผู้จัดพิมพ์หรือผู้เขียน ทั้งนี้เป็นไปตามสัญญาอนุญาต CC BY-NC-ND 4.0
นโยบายการเก็บบันทึกด้วยตนเอง
ผู้เขียนสามารถเก็บบันทึกบทความฉบับตีพิมพ์สุดท้าย ต้นฉบับที่ส่ง (preprint) หรือฉบับที่ผ่านการประเมิน (postprint) ในคลังสถาบันหรือเว็บไซต์ส่วนตัวได้ โดยต้องมีการอ้างอิงการตีพิมพ์ครั้งแรกในวารสารสังคมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พร้อมระบุแหล่งอ้างอิงที่สมบูรณ์และลิงก์ไปยังเว็บไซต์ของวารสาร
การขออนุญาต
สำหรับการใช้งานนอกเหนือจากที่ครอบคลุมโดยสัญญาอนุญาต CC BY-NC-ND 4.0 กรุณาติดต่อ:
กองบรรณาธิการ
วารสารสังคมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Email: cusocscij@gmail.com
สำหรับข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับสัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์แบบแสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 4.0 นานาชาติ กรุณาเยี่ยมชม: https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/deed.th