ที่มาทางสังคมของนโยบายสาธารณะ: บทสำรวจแนวความคิดและการประยุกต์ใช้
DOI:
https://doi.org/10.61462/cujss.v51i1.687คำสำคัญ:
นโยบายสาธารณะ, ความขัดแย้ง, ปัญหาสังคม, การแข่งขันระหว่างกลุ่ม, ความคิดเห็นสาธารณะ, ผลประโยชน์สาธารณะบทคัดย่อ
บทความนี้อภิปรายปัจจัยทางสังคมที่มีผลต่อนโยบายสาธารณะ ในเบื้องแรก ความขัดแย้งระหว่างปัจเจกชนและกลุ่มหลากหลายเป็นเหตุปัจจัยของนโยบายสาธารณะที่ช่วยจัดการความขัดแย้งนั้น และความขัดแย้งบางอย่างในสังคมมีความเกี่ยวข้องกับสิ่งแวดล้อมด้วย ซึ่งส่งสัญญาณความจำเป็นของนโยบายสาธารณะ กลุ่มที่หลากหลายก็แข่งกันผลักดันสาระของนโยบายสาธารณะตามที่ตนต้องการ สังคมต้องการนโยบายสาธารณะเพื่อตอบสนองการแบ่งแยกชนชั้นทางสังคมและปัญหาของความไม่เท่าเทียมที่มักจะมาจากระบบของการแบ่งแยกชนชั้น และปัญหาสังคมเป็นอีกหนึ่งปัจจัยสำคัญที่ตัดสินรูปลักษณะของนโยบายสาธารณะ โดยที่ปัญหาสังคมนั้นมีความละเอียดอ่อน หรือไม่คงที่ ซึ่งหมายถึงว่าคนในสังคมมีมุมมองที่แตกต่างหลากหลายเกี่ยวกับปัญหาสังคม ดังนั้นการนิยามปัญหาและประเด็นทางสังคมถูกใช้เป็นเครื่องมือในการโน้มน้าวทิศทางและสาระของนโยบาย คุณค่าและแนวความคิดล้วนมีที่ทางอยู่ในมุมมองต่อปัญหาสังคม บางคุณค่าและแนวความคิดครอบงำการนิยามประเด็นปัญหา ซึ่งก็จะกลายเป็นตัวการกำหนดสาระและทิศทางของนโยบายสาธารณะไปโดยปริยาย และสุดท้าย ความความคิดเห็นสาธารณะและผลประโยชน์สาธารณะ ซึ่งมีความหมายในตัวเองที่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ ก็เป็นตัวการกำหนดทิศทางของนโยบายสาธารณะอย่างมากได้ทั้งสองอย่าง
Downloads
References
Anusorn Limmanee. 1999. Rath Sangkom Lae Karnplianplang: Karn Pijarana Nai Chueng Amnaj Nayobai Lae Kruakai Kwamsampan [State, Society, and Changes: Approaches to Policy, Power, and Networks]. Bangkok: Rongpim Duan Tula, Inc. (in Thai)
Bangkok Post. 2019. “Chemicals Ban Passes Last Hurdle.” Accessed October 27, 2019.
https://www.bangkokpost.com/thailand/general/1777739/chemicals-ban-passes-last-hurdle.
Bangkok Post. 2017. “Toon Completes Marathon Charity Run.” Accessed February 5, 2021.
https://www.bangkokpost.com/thailand/general/1385414/toon-completes-marathon-charity-run.
BBC. 2013. “Thailand Senate Rejects Controversial Amnesty Bill.” Accessed October 27, 2019. https://www.bbc.com/news/world-asia-24903958.
Bickers, Kenneth N., and John T. Williams. 2001. Public Policy Analysis: A Political Economy Approach. Boston: Houghton Mifflin.
Boyle, Gary. 2019. “Young Dugong Mariam Dies in Nursery Tank.” Accessed October 27, 2019.
https://www.bangkokpost.com/learning/easy/1731883/young-dugong-mariam-dies-in-nursery-tank.
Carrabine, Eamonn, Pamela Cox, Pete Fussey, Dick Hobbs, Nigel South, Darren Thiel, and Jackie Turton. 2014. Criminology: A Sociological Introduction. 3rd ed. London: Routledge.
Carstensen, Martin B., and Vivien A. Schmidt. 2018. “Power through, over and in Ideas: Conceptualizating Ideational Power in Discursive Institutionalism.” In Ideas, Political Power, and Public Policy, edited by Daniel Beland, Martin B. Carstensen and Leonard Seabrooke, 4-23. London: Routledge.
Chakrapan Natanri. 2019. “Pheu Thai MP Convicted of Murder.” Accessed October 27, 2019. https://www.bangkokpost.com/thailand/general/1757254/pheu-thai-mp-convicted-of-murder.
Chelaa, Merci. 2017. “What Is Economic Determinism.” Accessed October 27, 2019.
https://www.worldatlas.com/what-is-economic-determinism.html.
Clawson, Rosalee A., and Zoe M. Oxley. 2017. Public Opinion. 3rd ed. London: SAGE.
Cobb, Roger W., and Charles D. Elder. 1983. Participation in American Politics: The Dynamics of Agenda-Building. 2nd ed. Baltimore, MD: The Johns Hopkins University Press.
Cobb, Roger W., and Joseph F. Coughlin. 1998. “Are Elderly Drivers a Road Hazard?: Problem Definition and Political Impact.” Journal of Aging Studies 12(4): 411-427.
Danziger, James N. 1996. Understanding the Political World: A Comparative Introduction to Political Science. 3rd ed. New York: Longman.
De Dreu, Carsten K. W., Hillie Aaldering, and Ozum Saygi. 2014. “Intergroup Conflict and Negotiating Settlement.” In Social Conflict within and between Groups, edited by Carsten K. W. De Dreu, 1-18. London: Psychology Press.
Dye, Thomas R. 2013. Understanding Public Policy. 14th ed. Boston: Pearson.
Eitzenn, D. Stanley, and Maxine Baca Zinn. 2000. Social Problems. 8th ed. Boston: Allyn and Bacon.
Gerston, Larry N. 2010. Public Policy Making: Process and Principles. 3rd ed. New York: M.E. Sharpe.
Hardin, Garett.1968. “Tragedy of the Commons.” Science 162(3859): 1243-1248.
Hay, Colin. 2006. “(What’s Marxist about) Marxist State Theory?” In The State: Theories and Issues, edited by Colin Hay, Michael Lister and David Marsh, 59-78. New York: Palgrave Macmillan.
Heywood, Andrew. 2018. Essentials of Political Ideas. London: Palgrave.
-----. 2015. Political Theory: An Introduction. 4th ed. London: Palgrave.
Jeong, Ho-Won. 2008. Understanding Conflict and Conflict Analysis. Los Angeles: SAGE.
Jessop, Bob. 1982. The Capitalist States. New York: New York University Press.
Lindblom, Charles E., and Edward J. Woodhouse. 1993. The Policy-Making Process. 3rd ed. Upper Saddle River, NJ: Prentice Hall.
Macionis, John J. 2007. Sociology. 11th ed. New York, NY: Pearson.
Nossiff, Rosemary. 1998. “Discourse, Party, and Policy: The Case of Abortion, 1965-1972.” Policy Studies Journal 26(2): 244-256.
Olson, Mancur, Jr. 1971. The Logic of Collective Action. Boston, MA: Harvard University Press.
Ostrom, Elinor. 1990. Governing the Commons: The Evolution of Institutions for Collective Action. Cambridge: Cambridge University Press.
Pisanu Sangiampongsa. 2019. “The Enactment of Thailand’s Inheritance Tax Law 2015: A Policy Process Analysis.” Journal of Social Science 49(1): 81-106.
Rawls, John. 1971. A Theory of Justice. Boston, MA: Harvard University Press.
Stiglitz, Joseph E. 2000. Economics of the Public Sector. 3rd ed. New York: W. W. Norton & Co.
The Thaiger. 2019a. “Thai Government to Consider Bringing forward Plastics Ban.” Accessed October 27, 2019. https://thethaiger.com/hot-news/environment/thai-government-to-consider-bringing-forward-plastics-ban.
-----. 2019b. “Thailand’s War on Sugar, Taxes Double.” Accessed October 27, 2019.
https://thethaiger.com/news/national/thailands-war-on-sugar-taxes-double.
Thailand. Ministry of Education. 1999. “Education Loans Manual for Thai Students, Ministry of Education.” Accessed October 27, 2019. http://www.moe.go.th/eloan.htm.
Thailand. The Revenue Department. 2014. “Personal Income Tax.” Accessed October 27, 2019.
https://www.rd.go.th/english/6045.html.
Yishai, Yael. 1993. “Public Ideas and Public Policy: Abortion Politics in Four Democracies.” Comparative Politics 25(2): 207-228.
Zelizer, Julian E. 2015. “How Medicare Was Made.” Accessed October 27, 2019.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2021 คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
เงื่อนไขการอนุญาตสาธารณะ
นโยบายลิขสิทธิ์และการอนุญาต
วารสารสังคมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เผยแพร่เนื้อหาทั้งหมดภายใต้ สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์แบบแสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 4.0 นานาชาติ (CC BY-NC-ND 4.0)
ลิขสิทธิ์
บทความทั้งหมดที่ตีพิมพ์ในวารสารสังคมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นลิขสิทธิ์ของ คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ผู้เขียนจะโอนสิทธิ์ทั้งหมดให้แก่วารสารเมื่อบทความได้รับการตอบรับให้ตีพิมพ์
สัญญาอนุญาต CC BY-NC-ND 4.0
ภายใต้สัญญาอนุญาตนี้:
-
แสดงที่มา (BY): ผู้ใช้ต้องแสดงที่มาโดยอ้างอิงถึงผู้เขียน คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และวารสารสังคมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พร้อมทั้งให้ลิงก์ไปยังสัญญาอนุญาต และระบุหากมีการเปลี่ยนแปลง ทั้งนี้สามารถทำได้ในลักษณะที่สมเหตุสมผล แต่ต้องไม่ทำในลักษณะที่แสดงว่าผู้อนุญาตให้การรับรองผู้ใช้หรือการใช้งานดังกล่าว
-
ไม่ใช้เพื่อการค้า (NC): ผู้ใช้ไม่สามารถใช้เนื้อหาเพื่อวัตถุประสงค์ทางการค้า การใช้งานเชิงพาณิชย์จะต้องได้รับอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษรล่วงหน้าจากผู้เขียนและคณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
-
ไม่ดัดแปลง (ND): หากผู้ใช้นำเนื้อหาไปรวม ดัดแปลง หรือต่อยอด ผู้ใช้ไม่สามารถเผยแพร่งานที่ดัดแปลงนั้นได้ การดัดแปลงผลงานจะต้องได้รับอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษรล่วงหน้าจากผู้เขียนและคณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
นโยบายการเข้าถึงแบบเปิด
วารสารสังคมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ให้การเข้าถึงเนื้อหาแบบเปิดโดยทันทีตามหลักการที่ว่าการทำให้งานวิจัยสามารถเข้าถึงได้อย่างเสรีแก่สาธารณะจะสนับสนุนการแลกเปลี่ยนความรู้ในระดับโลก ผู้ใช้สามารถอ่าน ดาวน์โหลด คัดลอก เผยแพร่ พิมพ์ ค้นหา หรือเชื่อมโยงไปยังเนื้อหาฉบับเต็มของบทความได้โดยไม่ต้องขออนุญาตล่วงหน้าจากผู้จัดพิมพ์หรือผู้เขียน ทั้งนี้เป็นไปตามสัญญาอนุญาต CC BY-NC-ND 4.0
นโยบายการเก็บบันทึกด้วยตนเอง
ผู้เขียนสามารถเก็บบันทึกบทความฉบับตีพิมพ์สุดท้าย ต้นฉบับที่ส่ง (preprint) หรือฉบับที่ผ่านการประเมิน (postprint) ในคลังสถาบันหรือเว็บไซต์ส่วนตัวได้ โดยต้องมีการอ้างอิงการตีพิมพ์ครั้งแรกในวารสารสังคมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พร้อมระบุแหล่งอ้างอิงที่สมบูรณ์และลิงก์ไปยังเว็บไซต์ของวารสาร
การขออนุญาต
สำหรับการใช้งานนอกเหนือจากที่ครอบคลุมโดยสัญญาอนุญาต CC BY-NC-ND 4.0 กรุณาติดต่อ:
กองบรรณาธิการ
วารสารสังคมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Email: cusocscij@gmail.com
สำหรับข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับสัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์แบบแสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 4.0 นานาชาติ กรุณาเยี่ยมชม: https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/deed.th